บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มิถุนายน, 2017
จงยกตัวอย่างสินค้าและบริการประเภทที่จำเป็นในการดำรงชีวิตหรือสินค้าและบริการที่ฟุ่มเฟือย

ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง อุปสงค์และอุปทาน

ในทางเศรษฐศาสตร์เรื่องที่มีส่วนสัมพันธ์กับเนื้อหาในการประยุกต์ต่อการเรียนรู้จากเศรษฐศาสตร์จุลสู่เศรษฐศาสตร์มหภาค คือ อุปสงค์ (Demand) และ อุปทาน (Supply) มีสาระสำคัญดังนี้   อุปสงค์ (Demand สัญลักษณ์ D) คือ ปริมาณความต้องการซื้อสินค้าและบริการ ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง โดยมีผลตามกฎของอุปสงค์  เมื่อราคา(Price สัญลักษณ์ P) สินค้าหรือบริการเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ความต้องการในปริมาณ (Q uantity  สัญลักษณ์ Q )  ซื้อลดลง (เขียนแทนด้วยสูตร P ↑→ Q ↓) ในทางตรงข้ามเมื่อราคา(Price สัญลักษณ์ P) สินค้าหรือบริการลดลง ส่งผลให้ความต้องการในปริมาณ (Q uantity  สัญลักษณ์ Q )  ซื้อเพิ่มขึ้น (เขียนแทนด้วยสูตร  P ↓→  Q ↑) อุปทาน (Supply สัญลักษณ์ S) คือ ปริมาณความต้องการขายสินค้าและบริการ ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง โดยมีผลตามกฎของอุปทาน เมื่อราคา(Price สัญลักษณ์ P) สินค้าหรือบริการเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ความต้องการในปริมาณ (Q uantity  สัญลักษณ์ Q ) ขายเพิ่มขึ้น  (เขียนแทนด้วยสูตร  P ↑→  Q ↑) ในทางตรงข้ามเมื่อราคา(Price สัญลักษณ์ P) สินค้าหรือบริการลดลง ส่งผลให้ความ...

สรุปความคิดเห็นของนักเรียนปวฃ.1 สาขวิชาพาณิชยกรรม

รูปภาพ
สรุปความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่ 5 นอกเหรือจากปัจจัย 4 ในสังคมปัจจุบัน คงไม่สามารถปฏิเสธได้ว่านอกจากปัจจัย 4 ที่เป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิตของคน อันได้แก่ อาหาร/ที่อยู่อาศัย/เครื่องนุ่งห่มและยารักษาโรคแล้ว  ในสังคมปัจจุบันที่ีเกิดการเปลี่ยนด้านการศึกษา,สังคมและเศรษฐกิจ ส่งผลให้เกิดปัจจัยที่เพิ่มเติมเข้ามาขับเคลื่อนต่อความเป็นอยู่ที่อาจเรียกได้ว่า ปัจจัยที่ 5 และ 6 หรืออื่น ล้วนแต่มีผลต่อทุกคน จากการเรียนการสอนที่ผ่านมาในสัปดาห์ที่ 1 เกิดความคิดรวบยอดของนักเรียนระดับชั้นปวช.1 สาขาวิชาพาณิชยกรรม คือ 1.   เงินทุน เพราะจากเดิมนั้นสังคมสมัยโบราณมีระบบการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ ที่รียกว่า ระบบการแลกของกับของ ตามที่คน คนนั้นเกิดความต้องการที่ตรงกัน จึงเกิดความยุ่งยากอันเนื่องจากบางคนมีสิ่งของที่อีกคนหนึ่งต้องการแต่ไม่สามารถแลกขอลกันได้ด้วยอีกฝ่ายไม่ต้องการของอีกฝ่ายรวมทั้งการเปรียบเทียบด้านปริมาณ และมูลค่าที่ไม่สอดคล้องกัน จึงเกิดระบบการเเลกเปลี่ยนด้วยเงินตรา ยังผลให้ปัจจุบันที่ที่คนเราจะดำเนินการในเรื่องใดๆก็ตามเงินจึงมีอิทธิพลมากขึ้น รวมทั้งมูลค่าของเงินตราของแต่ละประเทศ...