บทความ

ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง อุปสงค์และอุปทาน

ในทางเศรษฐศาสตร์เรื่องที่มีส่วนสัมพันธ์กับเนื้อหาในการประยุกต์ต่อการเรียนรู้จากเศรษฐศาสตร์จุลสู่เศรษฐศาสตร์มหภาค คือ อุปสงค์ (Demand) และ อุปทาน (Supply) มีสาระสำคัญดังนี้   อุปสงค์ (Demand สัญลักษณ์ D) คือ ปริมาณความต้องการซื้อสินค้าและบริการ ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง โดยมีผลตามกฎของอุปสงค์  เมื่อราคา(Price สัญลักษณ์ P) สินค้าหรือบริการเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ความต้องการในปริมาณ (Q uantity  สัญลักษณ์ Q )  ซื้อลดลง (เขียนแทนด้วยสูตร P ↑→ Q ↓) ในทางตรงข้ามเมื่อราคา(Price สัญลักษณ์ P) สินค้าหรือบริการลดลง ส่งผลให้ความต้องการในปริมาณ (Q uantity  สัญลักษณ์ Q )  ซื้อเพิ่มขึ้น (เขียนแทนด้วยสูตร  P ↓→  Q ↑) อุปทาน (Supply สัญลักษณ์ S) คือ ปริมาณความต้องการขายสินค้าและบริการ ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง โดยมีผลตามกฎของอุปทาน เมื่อราคา(Price สัญลักษณ์ P) สินค้าหรือบริการเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ความต้องการในปริมาณ (Q uantity  สัญลักษณ์ Q ) ขายเพิ่มขึ้น  (เขียนแทนด้วยสูตร  P ↑→  Q ↑) ในทางตรงข้ามเมื่อราคา(Price สัญลักษณ์ P) สินค้าหรือบริการลดลง ส่งผลให้ความ...

สรุปความคิดเห็นของนักเรียนปวฃ.1 สาขวิชาพาณิชยกรรม

รูปภาพ
สรุปความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่ 5 นอกเหรือจากปัจจัย 4 ในสังคมปัจจุบัน คงไม่สามารถปฏิเสธได้ว่านอกจากปัจจัย 4 ที่เป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิตของคน อันได้แก่ อาหาร/ที่อยู่อาศัย/เครื่องนุ่งห่มและยารักษาโรคแล้ว  ในสังคมปัจจุบันที่ีเกิดการเปลี่ยนด้านการศึกษา,สังคมและเศรษฐกิจ ส่งผลให้เกิดปัจจัยที่เพิ่มเติมเข้ามาขับเคลื่อนต่อความเป็นอยู่ที่อาจเรียกได้ว่า ปัจจัยที่ 5 และ 6 หรืออื่น ล้วนแต่มีผลต่อทุกคน จากการเรียนการสอนที่ผ่านมาในสัปดาห์ที่ 1 เกิดความคิดรวบยอดของนักเรียนระดับชั้นปวช.1 สาขาวิชาพาณิชยกรรม คือ 1.   เงินทุน เพราะจากเดิมนั้นสังคมสมัยโบราณมีระบบการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ ที่รียกว่า ระบบการแลกของกับของ ตามที่คน คนนั้นเกิดความต้องการที่ตรงกัน จึงเกิดความยุ่งยากอันเนื่องจากบางคนมีสิ่งของที่อีกคนหนึ่งต้องการแต่ไม่สามารถแลกขอลกันได้ด้วยอีกฝ่ายไม่ต้องการของอีกฝ่ายรวมทั้งการเปรียบเทียบด้านปริมาณ และมูลค่าที่ไม่สอดคล้องกัน จึงเกิดระบบการเเลกเปลี่ยนด้วยเงินตรา ยังผลให้ปัจจุบันที่ที่คนเราจะดำเนินการในเรื่องใดๆก็ตามเงินจึงมีอิทธิพลมากขึ้น รวมทั้งมูลค่าของเงินตราของแต่ละประเทศ...

ใบความรู้ที่ 3 ขอบข่ายและเป้าหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์

รูปภาพ
ใบความรู้เรื่อง  ขอบข่ายและเป้าหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์ การศึกษาหน่วยย่อยหรือขนาดเล็กเฉพาะกลุ่มเช่น กลุ่มผูัปริโภคในการตัดสินใจซื้อสินค้าและบริการด้วยความพึงพอใจภายใต้รายรับ(รายได้)ที่จำกัด,กลุ่มผู้ผลิตเพื่อผลิตสินค้าจำนวนเม่าใด ถือเป็น  เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics) การศึกษาให่ส่วนที่มีผลต่อคนหมู่มากหรือในระดับประเทศ/โลก เช่นการจ้างงาน,อัตรารายได้ขั้นต่ำ เป็นต้น ถือเป็นเศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics) เป้าหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์ เพื่อให้เข้าใจถึงสถานการณ์ของภาวะทางด้านเศรษฐกิจในปัจจุบัน เพื่อนำความรู้ที่ได้รับสามารถประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน เพื่อให้ทราบถึงนโยบายการพัฒนาประเทศชาติ

ใบความรู้ที่ 2 ความสำคัญของวิชาเศรษฐศาสตร์

ใบความรู้  เรื่อง  ความสำคัญของวิชาเศรษฐศาสตร์ ความรู้เรื่องเศรษฐาสตร์ล้วนแต่เกี่ยวกับกับการดำรงชีวิต เพื่อเป็นการจัดสรรหรือจัดการในแต่ละวัน ซึ่ง อา จกล่าวได้ว่าสามารถวางแผนการใช้ชีวิตของแต่ละคนจนถึงระดับประเทศ  ตั้งแต่การเลือกเพื่อ บริ โภค(กิน) อุปโภค(การใช้)  เช่น         1.  การที่เรามีเงิน/รายได้จำกัดต้องคำนึงถึงความจำเป็นว่าจะเลือกใช้เลือกกินอะไรถึงจะคุ้มค่าและสามารถดำรงชีวิตได้        2.  การบริหารประเทศหรือรัฐบาล ทำให้เกิดความรู้ว่าการพัฒนาประเทศนั้นรัฐต้องการรายได้จากการจัดเก็บภาษี การลงทุนของภาครัฐในโครงการต่างๆ เป็นการใช้จ่ายที่เรียกว่ารายจ่ายรัฐบาล แต่เมื่อใดที่รัฐบาลส่งเสริมให้เกิดการลงทุนก็จะใช้นโยบายด้านการเงินเกี่ยวกับอัตราดอกเบี้ยซึ่งเป๋็นเครื่องมือของสถาบันการเงิน

ทรูปลูกปัญญา

http://www.trueplookpanya.com/learning/search?sid=4000&q=%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C http://guru.sanook.com/4238/

ใบความรู้ที่ 1 ความหมายของเศรษฐศาสตร์

รูปภาพ
ความหมายของเศรษฐศาสตร์           เศรษฐศาสตร์  ( อังกฤษ :  economics ) เป็นวิชาทาง สังคมศาสตร์ ที่ศึกษาเกี่ยวกับ การผลิต   การกระจาย   การบริโภค สินค้า และ บริการ  ตามคำจำกัดความของนักเศรษฐศาสตร์และนักการเมือง  เรย์มอนด์ บารร์  แล้ว           "เศรษฐศาสตร์คือศาสตร์แห่งการจัดการทรัพยากรอันมีจำกัด เศรษฐศาสตร์พิจารณาถึงรูปแบบที่พฤติกรรมมนุษย์ได้เลือกในการบริหารทรัพยากรเหล่านี้ อีกทั้งวิเคราะห์และอธิบายวิถีที่บุคคลหรือบริษัททำการจัดสรรทรัพยากรอันจำกัดเพื่อตอบสนองความต้องการมากมายและไม่จำกัด                                                                         อดัม สมิธ           เป็นที่รู้จักมากที่สุดในฐานะเป็นเจ้าของทฤษฎี เศรษฐศาสตร์ ลัทธิเสรีนิยม ที่ประณาม สมาคมอาชีพ ใน ยุโรป ยุคคริสต์ศตวร...